“การใช้ชีวิตกับฐานะทางการเงิน” เข้าใจชีวิตและคิดให้ได้แบบนี้
การใช้จ่ายเกินตัว เกินกว่ารายได้ที่หาได้ ย่อมเป็นภ าระ ก่อให้เกิ ด ห นี้สิน และเวลาจำเป็นต้องใช้เงินจริงๆ หรือต้องการเงินมาลงทุนก็หาไม่ได้ และที่สำคัญมันทำให้การออมล้ มเ ห ล ว..
จึงมีแนวคิดที่มากมาย ในยุคนี้ คนใช้เงินเป็น ซื้อของแ พ งๆ เมื่อเขารวย แต่ทว่า คนใช้เงินไม่เป็นนั้นซื้อแต่ของแ พ งทั้งๆ ที่ตัวเอง
ไม่ค่อยจะมีเงิน ยังไม่รวย คนใช้เงินเขาเป็น สร้างแต่ กิ จ การ ไม่ว่าจะเดินไปไหน แห่งใด
ก็มีส าข าของตัวเอง มีแต่ร ายได้ แต่กับคนใช้เงินไม่เป็น มันน่าเศร้ า
คือสร้างแต่ ห นี้ หันไปทางไหนก็มีแต่รายจ่าย ร ายได้เท่าเดิม แต่รายจ่ายทวี
ผมเคยเป็นครับ ตั้งแต่ผมรู้ว่าควรใช้เงิน ทำอะไรมันทำให้ผมฉลาดกว่าเงิน
จากนั้นผมก็สบาย หากอายุ 45-50 อย ากนั่งทำงานให้คนอื่นสั่งงานก็ทำบ่อย ๆ
ผมเคยมีเงินมาก มันพอที่จะถอยรถ ที่ชอบได้เลบล่ะแต่ผมไม่ทำคนที่จะจนคือมีเงินปั๊ บ ซื้อของที่ตัวเอง ต้องการก่อนละ สังเกตตัวเองดูนะ
เมื่อได้โบนั ส มา 5 หมื่น กินเที่ยว ซื้ออะไรที่ชอบ 3 หมื่น
เป็นแบบนี้กี่ปีแล้วล่ะชีวิต ในทุกๆวันก็ตื่นไปให้คนอื่นใช้งาน สิ้นปีมาก็เหมือนเดิมอ้างอีกละทำงานก็เหนื่อย ซื้อของดีๆ
ให้ชีวิตตัวเองหน่อยคงไม่เป็นไร ได้โบนั สมากหน่อย 6 หมื่นซื้อโทรศั พท์ 25,000พากันไปฉลอง 2 หมื่น
แม็กรถ อีก 18,000 หมดพอดีเลย ทุกๆ ปีทำแบบนี้ เมื่อเวลาผ่านไป 10 ปี
พวกเราก็ยังนั่งกิ นเ ห ล้ า กับเพื่อน แล้วเกิดคำถามขึ้นว่า ทำไมพวกเราจนจังว่ะ
ทำงานมาตั้งนานไม่รวย ทีนี้รู้ยัง คุณไม่เคยเปิดใจไม่เคยเปิดตัวเองให้ได้รับโอกาสที่ดีเลย และที่สำคัญนั่งรอแต่โอกาส
ทำไมไม่สร้างโอกาสล่ะ รอคนอื่นสร้างให้ทำไม เมื่อก่อนผมก็เป็นทำงานเหนื่อยมาทั้งเดือนก็ขอให้ร างวั ลชีวิตบ้าง ซื้อเครื่ องดิ่มแ พ งๆ ซื้อทุกอย่ าง ที่อย าก
ได้ ยังไม่ถึงกลางเดือนเลยเงินเดือนหมดละ ต่อไปก็ตามระเบียบ ทานมาม่าบ้าง ยืมเพื่อนบ้าง
กู้เขามารับประทานบ้าง ไหนหล่ะกางเกง ตัวละ 1,800 เอามารับประทานได้หรือ รองเท้าคู่ละ 2,000 อิ่มท้องได้หรือไม่
อาหารแ พ งๆ อิ่มทั้งเดือนเลยหรือไงคนส่วนใหญ่ในสังคม เข้าใจคำว่า ร างวั ลชีวิตไม่ถูกไม่รวยจริงๆ อย่ า ทำเลยกี่ปีๆ ผมก็จนแล้วจนอีก เพราะเงินเดือนออก
มา ก็อ้างเหนื่อยมาทั้งเดือนแล้ว ให้ร างวั ลชีวิต กับตัวสักหน่อย
ก่อนจะทำอะไร อย ากให้คิดสักนิด ไม่ใช่ทำเพื่อใครหรอก แต่เพื่อตัวคุณเองต่างหาก
“สูตรการใช้ชีวิตแบบคนรวย”
1. รู้จักการออม
2. รู้จักจัด ส ร ร เวลา กำลังกาย และ เงิน ให้เหมาะสม
3. เชื่ อว่าอิ ส รภ าพทางการเงินสำคัญกว่าการแสดงออกซึ่งฐานะอั นร่ำร ว ย
ขอบคุณ : tamnanna,lokehoon