4 นิสั ยพาจนยิ่งทำยิ่งขัดสนเรื่องเงิน ใครมีนิสั ยแบบนี้ ตัดทิ้งได้ควรตัดทิ้ง เพราะชีวิตต้องดีกว่าที่เป็นอยู่

1. ขิ้เกี ยจ – หนักไม่เอา เบาไม่สู้

ทำงานไปวัน ๆ แบบเช้าชามเย็นชาม ไม่มีการพัฒนาตัวเอง ไม่มองถึงความก้าวหน้า ไม่มีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่นจึงไม่ค่อยได้รับโอกาสดี ๆ

เมื่อเห็นว่าจะมีงานย าก ๆ หรืองานแปลกใหม่มาก็ปฏิเส ธ ลูกเดียวบอกทำไม่เป็นบ้าง ไม่สะดวกบ้าง

งานที่ทำก็เอาแต่บ่นว่าเยอะแยะมากมายแต่ความจริงคือขี้เกียจ จนไม่อย ากจะทำอะไร

นี่ไม่วายรวมไปถึงชีวิตหลังเลิกงานหรือวันหยุดที่ไม่คิดจะหารายได้เสริมหรือทำเรื่องสร้างสรรค์ใด ๆ

รวมทั้งไม่ได้ลงทุนอะไรให้เงินงอกเงยอีกพูดง่าย ๆ ว่าเป็นคนที่ใช้เงินแบบมีรายได้ทางเดียว จึงไม่สามารถเพิ่มพูนเงินออมให้เร็วขึ้นได้

2. ชอบอวดรวย – เ ส พ ติ ดชีวิตหรู

สมาร์ทโฟนรุ่นใหม่ต้องมีก่อนใคร คอลเลกชันใหม่ของนาฬิกา หรือรองเท้าชื่อดัง ต้องเป็นเจ้าของให้ได้ แต่งตัวเรียบ ๆ

มินิมอลแต่ทุกชิ้นต้องแ บ ร นด์เ น ม สำหรับคนที่มีนิสั ยชอบใช้ของแพงแบบไม่จำเป็น

ลึก ๆ ในใจมักจะมีนิสั ยชอบอวดไปด้วยแต่ใครจะรู้ล่ะว่าคนที่ใช้ของแพง ๆ แบบนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นหนี้บั ตรเ ค รดิ ต

แบบโ งหัวไม่ขึ้น ผู้เ ส พ ติดความหรูจะเงินเดือนเยอะแค่ไหน หรือจะพย าย ามเก็บเงินสักเท่าไหร่

ถ้าใช้ชีวิตแบบเกินตัวไม่รู้จักประมาณตน ก็คงไม่มีเงินเหลือเก็บหรอกค่ะ

3. ชอบทำเรื่องไ ร้สๅระ – ไม่มีเป้าหมายในชีวิต

นอกจากความขิ้เกี ยจแล้ว ถ้ายังมีนิสัยชอบทำเรื่องไ ร้ส าระ ไม่คิดคำนึงว่าในอนาคตจะเอาอย่ างไรกับชีวิต

ไม่มีเป้าหมาย ไม่มีแบบแผน ไม่มีแร งบันด าลใจ รวมถึงไม่มีเรื่องออมเงินในหัวเลย

ได้แต่ใช้ชีวิตและใช้เงินไปวัน ๆ แบบนี้ก็คงไม่มีเงินออมสักที

4. มีหนี้ไม่ยอมใช้ – ก่อหนี้ใหม่ไม่รู้จบ

ต่อเนื่องจากข้อก่อน ๆ เมื่อมีนิสั ยชอบใช้เงินสุรุ่ ยสุร่ ายแบบไม่จำเป็น ไม่คิดหน้าคิดหลัง ไม่วางแผนการใช้เงิน

ไม่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายไม่ตั้งเป้าหมายในการออม ชอบใช้ของแพง กินอยู่แพง

ก็ย่อมมีปัญหาการเงินบ่อย ๆโดยเฉพาะปัญหาบั ตรเ ค รดิ ต หรือการกดเงินสดจากบั ตรเ ค รดิ ต

ที่มักจะมีด อ ก เบี้ ย มหาโ ห ด พ่ ว ง ตามมาด้วยในแต่ละเดือนต้องทำงานหาเงินมาใช้หนี้เหล่านี้ บางคนต้องใช้ชีวิตแบบเดือนชนเดือน ทำให้กระทบกับการออมเงินแน่นอน

..ความสุขที่พอดี คือสมบัติที่มีค่ามากที่สุด..

“ใช้เงินให้พอดี ไม่ว่าเงินเยอะหรือเงินน้อย สิ่งที่ ควรทำคือใช้เงิน

อย่างพอดี ก่อนจะใช้เงินก็หยุดคิดก่อน สักนิด จะได้ ไม่ต้องลำบ าก ทีหลัง..”

 

ขอบคุณ : f o r l i f e t h