7 วิธีคิดของคนรวย จากจุดเริ่มต้นที่นับว่าเป็นศูนย์..ก่อนเขาจะรวย

1. เลิ กโท ษโชคชะตาแล้วตั้งมั่นในการสร้างความมั่งคั่งด้วยตนเอง

คนไทยหลายคนมีความสามารถแต่ข าดทัศนคติที่ถูกต้อง ผมชั วร์มากว่าหลายคนรู้วิธีสร้างเงิน

แต่ข้ออ้างเยอะกว่าท้ายที่สุดก็ได้แต่บ่น ไม่ลงมือสร้างความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ สักที

2. ช่วยเหลือผู้อื่นเพิ่มขึ้น

ช่วยเหลือบริษัท/ช่วยเหลือลูกค้า/ช่วยเหลือพาร์ทเนอร์.. อะไรก็ตามที่คุณสามารถเพิ่มคุณค่าให้คนอื่นได้ ควรลองทำครับ!

ในช่วงแรกคุณอาจจะบอกว่ามันเหนื่อย แต่เชื่อผม ไม่ช้าก็เร็ว ทุกคนก็พร้อมที่จะตอบแทนคุณในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งอยู่ดี

3. เชี่ยวชาญในสิ่งที่ทำ

คนสมัยนี้ช่างเลือก ในเมื่อข้อเสนอมันมีเยอะ เรื่องอะไรที่เราจะเลือกแค่พอผ่าน..

จริงมั้ยล่ะครับ? เราต้องตั้งคำถามกับตัวเอง “ทักษะอะไรที่คนอื่นต้องการจากตัวเรา”

ถ้าคุณเองที่เป็นฝ่ายเลือก.. คุณจะเลือกตัวเองมั้ย?

4. มุ่งมั่นและสม่ำเสมอในเส้นทางที่เลือก

“ความอดทน” ท่องไว้เลยครับ “เราจะมุ่งมั่นทำให้สำเร็จ”ในเมื่อเราเลือกแล้วก็ต้องทำให้ได้ อย่ายอมแ พ้ต่อ อุ ป ส ร รคตรงหน้า

อย่าให้ใครมาตราหน้าว่าเรามันดีแค่พูด.. แสดงให้เห็นไปเลยว่าเรามันเอาจริง!

5. เลิ กคิดถึงการมีเงินล้านไวๆ

ประสบการณ์ผมบอกว่า “คนที่อย ากรวยเร็วที่สุด คือ คนที่พร้อมจะจนเร็วที่สุด” ก็รากฐานมันยังไม่มั่นคง..

ถ้าคุณยื่นแบงค์พันให้เด็กวัยรุ่นคนหนึ่ง คุณคิดว่าเค้าจะเอาไปทำอะไรครับก็นั่นแหละ

ถ้ามันยังไม่พร้อม ความรับผิ ดชอบมันยังไม่ถึง มีมากเท่าไหร่ก็หมดไปอยู่ดี..สิ่งที่จะทำให้คุณมีเงินล้านได้ คือ “นิสั ย” ไม่ใช่ “วิธีการ”

6. เข้ากลุ่มคนที่ใช้เงินเป็น รู้จักการต่อยอดของเงินที่มี

ถ้าคุณมีแฟนสวยและเก่งมาก แต่ดูแลเธอไม่ดี พาเธอไปพบสมาคมแต่กลุ่มเพื่อนในวงเ ห ล้ าผมก็ขอฟั นธงตรงนี้เลยว่า

ไม่นานเดี่ยวเธอก็ทิ้งคุณ! ..เรื่องเงินก็เช่นเดียวกันนั่นแหละครับ

7. วางแผนให้ตรงเข้าไปหาเป้าหมาย

แผนที่ผมคิดว่าเราควรให้ความใส่ใจ คือ “แผนชีวิต” กับ “แผนการเงิน”

และต้องทำไปพร้อมๆ กันด้วยคุณเคยเห็นคนตั้งเป้าหมายอย ากมี 100 ล้าน มั้ยครับ

ทำไมต้อง 100 ล้านอ่ะ? หลายคนเลือกเพราะมันเป็นตัวเลขที่ทำให้เราสบายใจ..

ผมว่ามันเป็นเป้าหมายเลื่อนลอยที่บังคับให้เราต้องมีเงินในบัญชีร้อยล้านแล้วถึงจะมีความสุขได้

โห โคตรน่าสงส า รเลยอ่ะ!..

เรื่องจริง คือ เงินที่เราต้องใช้จริงๆ มันน้อยกว่านั้นเยอะ แต่เพราะเราข าดการวางแผนการเงินคู่ขนานไปด้วย เราเลยไม่รู้จุดที่เรียกว่าพอดี

 

ขอบคุณ : w c i