11 แนวคิด การใช้ชีวิตไม่ยึดติด ถึงแม้เงินเดือนไม่ถึงหมื่น..ก็ไม่ทุ กข์ก็ และหาความสุขได้

เพราะงานไม่ได้หากันง่าย หลายคนจึงถือคติ ‘ไม่เลือกงาน ไม่ย ากจน’ แต่ก็มีหลายคนที่รู้สึกลำบ ากใจ

โดยเฉพาะเรื่องของเงินเดือน ทำไม๊..

ทำไมไม่ถึงหมื่นอย่างคนอื่นเขาซะทีทั้งที่จบ ป.ตรีมาเหมือนกันนะ

บางทีปัญหามันก็ไม่ได้เกิดที่เงินเดือนเป็นหลัก แต่เกิดจากวิธีคิดของเราที่ยึดติดแต่เปลือกมากเกินไป

เงินเดือนแค่หลักพันแล้วไงล่ะ ทำไมจะมีชีวิตดี๊ดีแบบคนมีเงินเดือนหลักหมื่นไม่ได้

1. ถึงทุกอย่างที่มีอยู่ ไม่แพง ไม่หรู

แต่ก็ครบครัน ที่พักก็มี, การเดินทางก็ไม่ลำบ ากมาก, การกินอยู่ก็พออิ่มพอกิน, ได้เข้าสังคมตามโอกาสที่ควร,

ได้เพื่อนร่วมงานที่ดี, มีวันหยุดที่สบาย, เ จ็ บ ป่ ว ยก็มีค่ารั ก ษ า ฯลฯ สิ่งรอบตัวเรามีครบขนาดนี้

ก็ไม่จำเป็นแล้วที่จะต้องดิ้นรนให้เกินฐานะ พอใจในสิ่งที่ตัวเองมีอยู่นี่แหละความสุขที่แท้จริง

2. โชคดีแค่ไหนแล้วที่มีงาน มีเงิน

ถ้าคุณกำลังท้อใจ รู้สึกว่างานที่ทำอยู่ทำไมด้อยมูลค่า ด้อยตำแหน่ง ลองมองในมุมกลับกันว่า

‘ดีแค่ไหนแล้วที่มีงานทำ’ บางคนไม่มีโอกาสที่ดีเท่าเราด้วยซ้ำไปพวกเขาต้องดิ้ น ร นหนักกว่าบ้ าง

หรือไม่ก็ยอมแ พ้ ไม่หางานซะเลยก็มี

แต่อย่าใช้ป ล อ บใจตัวเองในวันที่คุณรู้สึกว่างานที่ทำอยู่มันทำให้คุณรู้สึกไม่โอเคมากๆ เช่น สวัสดิการห่วยมาก,

มีการทุจริ ตในองค์กรจริง, ยิ่งอยู่ยิ่งถูกเอาเปรียบจริง ลาออกเลยดีกว่า อย่าป ล อ บใจตัวเองถ้ารู้สึกท ร ม า นมาหลายหนแล้ว

3. สร้างมิตรภาพกับคนรอบตัวเข้าไว้

ความสัมพันธ์อันดีต่อเพื่อนบ้ าน, เพื่อนร่วมงาน, ใครก็ตามที่อยู่ใกล้ๆ

เรานอกจากเราจะได้รับการแ บ่ ง ปั นของกินของใช้, อ า ห า ร,

โอกาสดีๆ อันอื่นๆ ในย ามที่เราเดื อ ดร้ อนขึ้นมาเช่น จู่ๆ ก็ไม่สบายหนัก

พวกเขาอาจช่วยเราผ่ อ นหนักเป็นเบา คอยเป็นหูเป็นตาช่วยดูแลเรา

ปฏิเสธไม่ได้หรอกว่าความสัมพันธ์มันมาพร้อมกับผลประโยชน์แต่เราก็เลือกได้นะว่าจะบาลานซ์

ให้เรื่องไหนมาเป็นอันดับแรก

4. ถึงจะออกนอกห้องบ่อยๆ

ก็ไม่ได้แปลว่าเราจะไม่มีเงินเก็บเลย จริงอยู่ว่าก้าวเท้าออกไปนอกบ้ านหรือนอกห้อง

ก็เท่ากับว่าเรายินยอมที่จะจ่ายตังค์แล้ว อย่าเหนียวกับตัวเองไปหน่อยเลยถ้าวันไหนไม่มีตังค์หรือเงินช็ อ ต

ไม่จำเป็นต้องออกไปใช้เงินมากก็ได้ ลองหากิจ ก รรมง่ายๆ เช่น

ออกไปวิ่งที่สวนสาธารณะ, ออกไปเดินเล่นที่ห้าง, ออกไปปั่นจักรย านเที่ยวเล่นอย่าติดนิสัยอยู่ในห้องบ่อยๆ

เราควรแอคทีฟตัวเอง บ้ าง ร่า ง ก า ยจิตใจจะได้แจ่มใส ตื่นตัวอยู่เสมอ

ไม่เ จ็ บ ป่ ว ยง่าย ไม่รู้สึกน่าเบื่ อหรือหดหู่ง่ายเหมือนขังตัวเองอยู่แต่ในห้อง

5. โอกาสทางสังคมไม่จำเป็นต้องแพ ง

การประหยัด นอกจากไม่ได้แปลว่าการอดมื้อกินมื้อ ยังไม่ได้หมายถึงการงดเข้าสังคมด้วยเช่นกัน

การเข้าสังคมยังเป็นสิ่งที่จำเป็นเสมอ ในการทำงาน

เพราะมันจะทำให้เราเข้าใจเพื่อนร่วมงานได้มากขึ้น ติดต่อสื่ อ ส า รทั้งในและนอกเวลางานได้ลื่นไหลขึ้น

ไม่จริงเสมอไปว่ามันจะต้องเป็นค่าใช้จ่ายที่แพ งไม่ได้ประโยชน์อะไรเลย

6. กระจายเงินเก็บ/ต่อยอดเงินเก็บ

เงินจากการออมเป็นรายวัน/รายสัปดาห์/รายเดือน ไม่ควรมีในบัญชีเดียวหรือแหล่งเดียว

ควรกระจายแหล่งเงินฝาก เช่น ฝากไว้เป็นบัญชีกลางร่วมกับแฟน, ฝากไว้ที่บัญชีของลูกน้อย,

ฝากไว้ที่บัญชีของพ่อแม่ เพื่อป้องกันการใช้เงินแบบไม่มี ลิมิตหรือกันเงินไว้สำหรับเหตุฉุ ก เ ฉิ นได้หลาย

ที่และหากมีเงินเก็บมากพอสัก 5,000-10,000 บาท ลองต่อยอดเป็นหุ้น,

ธุรกิจเล็กๆ, ทองคำ, เงินฝากประจำด อ ก เ บี้ ยสูง เงินคุณจะได้เติบโตมากขึ้น ไม่เป็นยอดนิ่งๆ

แค่บัญชีเดียวแต่เสียวไส้ ใช้หมดเมื่อไหร่ เจ๊งเมื่อนั้น

7. ควรซื้ อของด้วยเงินสด

ไม่ใช้ระบบผ่ อ นหรือบั ต ร เ ค ร ดิ ต อย ากได้อะไรพย าย ามเก็บเงินให้ครบแล้วค่อยไปซื้ อ อย่าติดนิสัย

ซื้ อมาก่อน ผ่ อ นทีหลัง หรือจ่ายด้วยบั ต ร เ ค ร ดิ ต ซึ่งเป็นการนำเอาเงินในอนาคตมาใช้

(ไม่เหมาะกับคนเงินเดือนหลักพันเป็นอย่างยิ่ง เพราะสเตทเม้ นท์ ไม่ปลอดภั ยพอสำหรับการหมุนเงิน)

8. อย่าบ่ น

ถ้าต้องเดินทางด้วยความลำบ าก ถ้าคิดแล้วว่าวิธีไหนก็ปลอดภั ยเหมือนกัน

ให้มองหาการเดินทางวิธีที่ประหยัดที่สุด เช่น

เดินจากที่พักไปออฟฟิศที่ใกล้ๆ, ขึ้นรถโดยส า รประจำทาง, ปั่นจักรย านไปทำงาน,

ขิ่มอเตอร์ไซค์ไปทำงานจังหวัดใกล้ๆ คุณไม่จำเป็นต้องใช้วิธีสะดวกสบายมาก

หากว่าสุดท้ายแล้วต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในส่วนของพาหนะเป็นก้อนใหญ่รองจากค่าที่พัก

9. ให้รางวัลตัวเองแบบพอชื่นใจ

ไม่ถี่มาก ชอบพอที่จะซื้ ออะไรให้กับตัวเอง ไม่จำเป็นต้องอดซื้ อ

แต่ลองตั้งเงื่อนไขอะไรให้กับตัวเองสักอย่างเกี่ยวกับงาน เช่น

ส่งงานให้ทันกำหนดการ, ทำยอดได้ตามเป้าหมาย ถ้าสิ่งที่คิดไว้สำเร็จจริง นอกจากจะได้แร งจูงใจในการทำงาน

มันยังเป็นการเ บ ร คตัวเองไม่ให้จ่ายอะไรในก้อนใหญ่ที่ไม่จำเป็นโดยง่ายอีกด้วย

10. อย่าจำกัดสกิ ลตัวเอง

อย่าคิดว่าเรามีความสามารถแค่นี้ ก็สมควรที่จะได้ทำงานแค่นี้ รับผิดชอบงานแค่ไม่กี่อย่าง มีเงินเดือนแค่หลักพัน

คุณต้องเพิ่มมูลค่าและคุณค่าให้กับตัวเองด้วยการ ‘อั พสกิ ล’ เช่นเก็บเงินไปสอบวัดระดับภาษาให้ผ่านเพื่อนำผลสอบนั้น

ไปยื่นเรื่องปรับเงินเดือนหรือย้ายไปสมัครงานที่ใหม่,

11. ที่อยู่อาศัย ประหยัดได้ยิ่งดี

มนุษย์เงินเดือนหลายคนต้องหักเงินเดือนครึ่งหนึ่งเป็นค่าเช่าที่พัก ถ้าคุณอยู่บ้ านหรือที่ทำงานคุณให้ที่พักฟรีล่ะก็

ไม่ต้องอายคนอื่นว่าจะเป็นการเกาะใครกินรึเปล่า มาโฟกัสที่การเก็บเงินดีกว่านะ

ยิ่งเราจ่ายให้ค่าที่พักได้น้อยมากหรือไม่จ่ายเลย เรานี่แหละมีโอกาสเป็นนายตัวเองได้ไว

ขอบคุณ : p r e d i c t – j 5 5