ข้อคิด

อย่ามีนิสัยเหมือนกิ้งก่าได้ท อ ง ลืมตัว วางท่าใหญ่โต สุดท้ายมีภั ยไม่รู้ตัว

อย่ ามีนิสัยเหมือนกิ้งก่าได้ท อ ง ลืมตัว วางท่าใหญ่โต ยิ่งมีทุกอย่ างยิ่งไม่พอ

ความโ ล ภ มักเกิดกับคนที่ มุ่งแต่จะทำการใดๆ เพื่อกลุ่มตน และตัวเองให้ได้รับประโยชน์สูงสุด

โดยไม่คำนึงถึงว่า จะเป็นโท ษกับบุคคลอื่นหรือไม่ และคนโ ล ภพวกนี้ เมื่อก่อตั้ง

หรือรวมกลุ่มกันแล้ว จะทำให้เกิดปัญหาหลายอย่ าง และยุคนี้ก็มีบุคคลเหล่านี้มากมาย

หลายคนด้วยกันก็เข้าใจนะว่า คนเราทุกคน เกิดมาแล้ว ก็ล้วนแต่มีความปรารถนา

“อย ากมี อย ากได้” เป็น ธ ร ร ม ดาของมนุษย์ แต่ม ากเกินไป มันก็ไม่ดี

บางคนที่ได้ล าภ ย ศแล้วทะนงตนลืมฐานะเดิม ลืมว่าครั้งเมื่อสมัยเป็นเด็ก เป็นคนที่ไม่เคย

มีความสำคัญไม่เคยมีสมบัติ และไม่มีความคิดสร้างสรร สมองกล วง เมื่อได้รับล าภ ย ศ

แม้เพียงเล็กน้อย ก็คิดว่าตนมีความสำคัญเหนือผู้อื่นเกิดความเ ห่ อ เหิ ม ลืมตัว แสดงความเย่ อ หยิ่ ง

จองหอง วางท่าใหญ่โต คนเช่นนี้ ย่อมเป็นที่รั งเ กี ย จ ของคนอื่นๆ เป็นอันมาก

มีเรื่องเล่า “มโ ห ส ถ ช า ด ก” เป็นเรื่องราวครั้งที่พระพุทธเจ้าเสวยพระชาติเป็น “มโ ห ส ถ”

บัณฑิตเจ้าปัญญารับราชการในพระเจ้าวิเทหราช

ผู้เป็นราชาแห่งเมืองมิถิลา โดยเนื้อเรื่องมีอยู่ว่า

วันหนึ่งพระเจ้าวิเทหราชเสด็จประพาสอุทย านกับมโหสถ

มีกิ้งก่าตัวหนึ่งเห็นทั้งคู่เดินมาด้วยกัน ก็ไต่ลงจากเสา มาทำท่าหมอบกราบอยู่เบื้องหน้า

พระราชาเมื่อพระราชาเห็นดังนั้น จึงตรัสถามมโหสถว่า

กิ้งก่ าทำอะไร มโหสถจึงตอบไปว่า กิ้งก่าตัวนี้มาถวายบังคม จะถวายตัวแก่พระราชา

พระเจ้าวิเทหราชเห็นว่า กิ้งก่าตัวนั้นเป็นกิ้งก่าแสนรู้ จึงตรัสว่า ควรจะให้สิ่งตอบแทนกับมัน มโหสถจึงแนะนำ

ให้พระราชาพระราชทานเนื้อให้มันกิน พระราชาจึงรับสั่งให้ราชบุรุษผู้เฝ้าอุทย านซื้อเนื้อมูลค่าครึ่งมาสก

หนึ่งมาสก มีค่าเท่ากับทอง ซึ่งน้ำหนักเท่าข้าวเปลือกสี่เมล็ด มาให้มันกินทุกวัน เจ้ากิ้งก่ามีเนื้อกินทุกวัน

ก็ทำความเคารพพระราชา และราชบุรุษเสมอ ทว่าในวันหนึ่งเป็นวันอุโบสถ

ไม่มีการฆ่ าสั ตว์ ราชบุรุษจึงไม่อาจหาเนื้อให้มันกินได้

จึงนำเหรียญทองราคาครึ่งมาสก ที่พระราชาพระราชทานเป็นค่าเนื้อนั้น ผูกไว้ที่คอมันแทน

ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา เจ้ากิ้งก่ าก็คิดว่า ตนเองมีทรัพย์

คือเหรียญทอง เหมือนพระราชาแล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องทำความเคารพพระราชา

หรือใครอีก จึงขึ้นไปชูคออยู่บนซุ้มประตูอุทย าน

วันหนึ่งพระราชามาประพาสสวนกับมโหสถอีกครั้ง พบเจ้ากิ้งก่าชูคออยู่บนซุ้มประตูอุทย าน

ไม่ลงมาหมอบถวายบังคมเช่นเคย จึงไต่ถามราชบุรุษผู้เฝ้าสวน ได้ความว่าเมื่อเจ้ากิ้งก่าได้เหรียญทองไปแล้ว

ก็ไม่ยอมทำความเคารพใครอีก จึงจะประห ารเจ้า กิ่งก่าแต่มโหสถทัดทานไว้

พระราชาจึงลงโ ท ษ ด้วยการ เลิ กพระราชทานเนื้อให้มันตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

จึงเป็นที่มาของสำนวนไทยที่ว่า กิ้งก่ าได้ทองนั่นเอง

“หลงทาง เป็นเรื่อง ที่ไม่น่าเกรง

แต่..หลงตัวเอง เป็นเรื่อง ที่น่ากล้ว..”