7 วิธีสอนลูกให้จิตใจดี ฉลาดมีความสุข ไม่ใช่เรียนเก่งอย่างเดียว ต้องพึ่งตัวเองได้ด้วย

เลี้ยงลูกอย่างไรดีให้มีความสุข ฉลาด และทางด้านอารมณ์ เติบโตขึ้นมามีเหตุผลและเป็นคนดีของสังคม

1. ฝึกเรื่องระเบียบวินัยให้เขา

การฝึกระเบียบวินัย เพื่อเป็นทักษะการควบคุมตนเอง และยับยั้งชั่งใจให้แก่ลูก นับเป็นพื้นฐานต่อการทนต่อสิ่งยั่ วยุต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ซึ่งสามารถทำได้

ตั้งแต่เล็กๆ อาทิ การตื่นนอนและเข้านอนให้เป็นเวลา รับประทานอาหารเป็น

เวลา การเก็บของเล่นให้เป็นที่เป็นทางหลังเล่นเสร็จแล้ว ไม่รับประทานขนมหรืออาหารในห้องนอน เป็นต้น

2. ฝึกลูกให้รู้จักช่วยงานบ้าน

การฝึกลูกช่วยงานบ้านสามารถเริ่มได้ตั้งแต่เล็กเลย โดยส่วนใหญ่เ ด็ กในวัย2 ขวบ เริ่มฟังและเข้าใจคำสั่งง่าย ๆ ได้บ้างแล้ว ดังนั้นเราควรฝึกลูกให้ช่วย

งานบ้านขั้นพื้นฐานเป็น เช่น เก็บของเล่นหลังเล่นเสร็จ

นำเสื้อผ้าที่สวมแล้วไปใส่ตะกร้า เป็นต้น การให้ลูกช่วยงานบ้านโดยเริ่มจากสิ่งที่เขาควรต้องรับ

ผิ ดชอบเอง ทำให้เด็ กได้เรียนรู้เรื่องหน้าที่ของตนเอง ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต่อ

การใช้ชีวิตในสังคม เมื่อลูกเริ่มโตขึ้นค่อยเพิ่มหน้าที่ภายในบ้านให้เหมาะสม

กับวัย ลูกก็จะเรียนรู้ว่าสิ่งต่างๆ ที่ตนทำมีผลกระทบต่อคนรอบข้างอ ย่ างไรนับเป็นจุดเริ่มต้นของการเอาใจเขาใส่ใจเรานั่นเอง

3. ฝึกให้ลูกช่วยเหลือตนเอง

การฝึกให้ลูกรู้จักช่วยเหลือตนเองให้เป็น ถือเป็นพื้นฐานของทักษะอื่นต่อไป

เพราะการที่เด็ กสามารถช่วยเหลือตนเองได้และลดการพึ่งพาคนอื่น จะทำให้

เด็ กเกิดความมั่นใจในตัวเอง ลดความกังวลและพร้อมที่จะเรียนรู้ทักษะอื่น ๆ ในชีวิตประจำวันได้

4. สร้างแ ร งบันดาลใจด้วยเรื่องเล่า

การสร้างแร งบันดาลใจด้วยเรื่องเล่า สำหรับเด็ กเล็ก โลกของเขายังไม่กว้างใหญ่มากนัก

การเล่าเรื่องราวต่างๆ จากนิทาน หรือเกร็ดประวัติศาสตร์อย่ างง่าย ๆ

เกี่ยวกับบุคคลที่ทำเพื่อผู้อื่น จะช่วยทำให้ลูกเข้าใจเรื่องการช่วยเหลือกันในสังคมได้ดีขึ้น

คนเป็นพ่อแม่อาจถามลูกว่า หากเกิดเหตุการณ์อย่ างในนิทานขึ้นกับลูก

ลูกจะทำอ ย่ างไร ลองฟังคำตอบของลูกแล้วชื่นชม หรือตั้งคำถามเพื่อชี้แนะแนว

ทางที่ถูกต้อง เพื่อหลีกเลี่ยงที่จะวิจารณ์ และตัดสินว่าคำตอบของลูกถูกหรือผิ ดเพื่อให้ลูกได้ฝึกคิดด้วยตนเอง โดยมีพ่อแม่เป็นผู้ชี้นำแนวทางที่เหมาะสม

5. สอนลูกให้รู้จักแก้ปัญหา

สอนลูกให้รู้จักแก้ปัญหา บ่อยครั้งที่ลูกเราอาจทำพลาดไปบ้าง พ่อแม่หลายคนจะใช้วิธีตำห นิหรือดุลูกเพื่อไม่ให้ลูกทำผิดอีก การทำเช่่นนี้นั้นจะทำให้เด็ กคิด

ว่าการทำผิดเป็นเรื่องใหญ่โต และกลั วที่จะทำผิ ดหรือจะปกปิดความคิดของตน

เองโดยการโ ก ห ก ดังนั้น พ่อแม่ควรเริ่มต้นในการให้อภัยลูก แล้วชวนลูกแก้ไข้ปัญหาหลังจากที่เกิดข้ อผิ ดพลาด ตัวอย่ าง เช่น เวลาลูกวิ่งแล้วไปทำน้ำหก

พ่อแม่ควรฝึกให้เด็ กรับผิดชอบในสิ่งที่ทำ คือเช็ดน้ำและเก็บแก้วให้เป็นที่ หลัง

จากนั้นชวนให้ลูกคิดว่าครั้งหน้าสามารถระวังอย่ างไรให้ไม่เกิดเหตุการณ์แบบนี้อีก

6. สอนเรื่องอารมณ์ต่างๆ

เช่น เมื่อลูกร้องไห้ที่ไม่ได้ของเล่น คุณพ่อคุณแม่อาจบอกลูกว่า

แม่รู้ว่าลูกกำลังเ สี ยใจที่ไม่ได้ของเล่น หรือเมื่อลูกโ ก ร ธที่ถูกแ ย่ งขนม ต้องบอกว่าลูกกำลัง

โ ก ร ธอยู่ใช่ไหม แต่แม่อย ากให้ลูกหายใจเข้าลึก ๆ แล้วใจเย็น ๆ ก่อน การสอน

เช่นนี้จะช่วยทำให้ลูกเรียนรู้ที่จะจัดการกับอารมณ์ของตน เมื่อโตขึ้นเขาจะได้ไม่

นำอารมณ์ของตนเองมาเป็นข้ออ้างในการทำร้ า ยคนอื่นนั่นเอง

7. การพาลูกออกไปพบปะผู้คนที่หลากหล ย

การพาลูกพบปะคนที่หลากหลาย นับเป็นการฝึกให้ลูกมีความเห็นอ กเห็นใจผู้อื่น

และเข้าใจสังคมมากขึ้น ก็คือทำให้เขาเห็นว่าในโลกนี้มีคนที่แ ต กต่างกันอยู่อย่ าง

หลากหล า ย ทั้งสีผิว เชื้อชาติ ภาษา และความคิด ซึ่งสิ่งที่แต กต่างเหล่านี้ไม่ได้

แปลว่าผิ ดเสมอไป การพาลูกออ กเดินทางท่องเที่ยวได้เห็นวิถีชีวิตผู้คนที่แต กต่าง

พร้อมกับคำชี้แนะที่เหมาะสม จะทำให้ลูกเข้าใจความเป็นไปของโลกใบนี้ได้ดีขึ้น