ข้อคิด

5 วิธีปฏิบัติ เมื่อถูกนิ น ท า แต่ยังหาความสุขให้ตัวเองได้

คนไม่ถูกนิ น ท าในโ ล กนั้น ไม่มีอย่ าถือส าถ้ อ ยคำทิ่ มแ ท ง

ปล่อยให้เป็นวจีก ร ร ม ของเขาอย่ า เอามาเป็นมโ น ก ร ร ม ของเรา..

1. ให้มีจิตเมตตาสงส ารผู้นิ น ท า

ให้คิดด้วยความเม ตต ากรุณาว่า คนที่นินท าเรานั้น ย่อมกระทำไปด้วยความอิ จฉ าริ ษย า

เขาจะต้องเผ าลนจิตใจของเขาให้ร้อนรุ่ มเสี ยก่อน

จึงจะสามารถพูดนิ น ท าว่าร้ายคนอื่นออกมาได้ ให้คิดเมตตาส ง ส าร แทนที่จะไปโ ก ร ธเคื องเขาอนึ่ง

คนที่ชอบกล่าววาจาส่ อเสี ยด หรือ ชอบนิ น ท าว่าร้ ายผู้อื่น โดยปรกติเขาย่อมเป็นผู้หามิ ตร สห ายที่ใกล้ชิดไม่ค่อยได้

เพราะไม่เคยมีใครไว้วางใจคนที่ชอบนิ น ท าว่าร้า ยผู้อื่น

ให้คิดเห็นใจเขาในฐานะที่เขาต้องเป็นผู้อยู่ในโ ล กนี้ด้วยความรู้สึกโ ด ดเดี่ ย วเพราะเขาย่อมหาเพื่อนแท้ไม่ได้

2. คิดหาประโย ชน์จากคำนิ น ท า

คนที่คิดกล่าวร้ ายเรา บางทีเขาต้องไปนั่งคิดนอนคิดหาจุดอ่อนในตัวของเรา

เพื่อเอามาพูดโ จ มติ บางทีจุดอ่ อนเหล่านี้ตัวเราเองก็มีอยู่จ ริง

แต่ทว่าเราไม่รู้ตัวมาก่อน นี้เป็นประโย ชน์มาก เพราะเราสามารถนำข้อมูลเ ห ล่ านี้มาพัฒน าปรับปรุงตนเองได้

ดังนั้นเราจึงควรที่จะขอบคุณคนนินท าเร า เพราะเขาอุตส่ าห์ไปนั่งคิดนอนคิดช่วยค้นหาข้อมูลมาช่วยให้เราปรับปรุงตนเอง

3. ให้มีจิตใจมั่นคงดุจภูผ า

ถ้าเรามีความบริสุ ทธิ์ใจ ทำการงานด้วยความตั้งใจปรารถนาดี แต่แล้วก็ยังไม่พ้ นถูกคนนินท า

กล่าวร้ ายว่าอย่ างนั้นอย่างนี้ ก็ขอให้เรามีความมั่นใจในความดีของเรา

อุปมาภูผ าหินแท่งตันไม่หวั่นไหวในลมพ ายุฉันใด บั ณฑิ ตผู้มีจิ ตใจหนักแน่นในความดี ย่อมไม่หวั่นไหวในคำสร รเส ริญและคำนินทาแม้ฉั นนั้น

4. เป็นธร รมดาของโ ล ก

ให้คิดว่านี่เป็นธร รมดาของโ ล ก ไม่เคยมีใครสักคนบนโ ล กนี้ที่รอดพ้ นจากคำนิ นท า เพราะแม้แต่พระพุ ท ธเจ้าของเรา

ขนาดท่านเป็นผู้ที่ประเสริ ฐบริสุ ทธิ์สูงสุด แต่ท่านก็ยังไม่พ้ นถูกคนพา ลกล่าวโจ ม ติว่าร้ ายจนได้แล้วนับประสาอะไรกับเราที่เป็นแค่คนธร รมดาสามัญที่ยังมีทั้งดีและชั่ วจะรอ ดพ้นปากคนนินท าไปได้

คิดอย่ างนี้แล้วจะได้สบายใจว่า การถูกนิ น ท านี่เป็นแค่เรื่องธรร มดาเกิ ดขึ้นมาพร้อมกับโ ล ก และยังคงมีอยู่ต่อไป ตร าบชั่ วฟ้ าดินสล าย

5. คิดวิเ ค ร าะห์ให้เห็นปัญหาสังคม

สังคมไทยเป็นสังคมที่มีความสัมพันธ์ในแนวดิ่ง คือเน้นเรื่องการใช้อำน าจ คร อบงำกันและกัน

จึงมีการปลูกฝังสอนให้คิดแข่ งดีแข่ งเด่นคิดเหนือผู้อื่น สอนให้อย ากเป็นใหญ่เป็นโตมาตั้งแต่โบร าณ

ทำให้คนไ ท ยเรา เวลาเห็นใครทำดี ก็มักจะเกิ ดความริ ษย าโดยไม่รู้ตัว

คือทนไม่ได้ที่จะเห็นคนอื่นดีกว่าตน สังคมที่มีความสัมพั นธ์ในแน วดิ่ ง เช่นนี้ผู้คนจึงมักจะชอบนินท าว่าร้ ายกันและกันเป็นเรื่องธร รมดา ถ้าคิดวิเคราะห์ได้เช่นนี้แล้วก็สบายใจ ไม่ต้องไปเดื อดเนื้ อร้ อนใจอะไรมาก

ให้ถือว่าการที่เราถูกนิ น ท านี้ก็เป็นส่วนหนึ่งของปรากฏก ารณ์ทางสังคมก็แล้วกัน มันเป็นเช่นนั้นเองในอน าคตไม่แน่ หากมีการศึกษาเรื่องพุท ธธร รมกับ

สังค มไทยกันอย่ างจริงจัง บางทีเราอาจจะสามารถเปลี่ยงแปลงความสัมพันธ์ทางสังคมจาก “แ นวดิ่ ง” ให้เป็น “แน ว ร าบ” คือคนไ ท ยมีความเส มอภาคกันไม่ถืออำน าจเป็นใหญ่

แต่ถือความถูกต้องดีงามเป็นใหญ่เมื่อถึงเวลานั้นสังคมที่เต็มไปด้วยการนินท าว่าร้ ายก็จะลดน้อยลงไปเองตามธร รมช าติ แล้วภ าษิ ต ยอดฮิ ตที่ว่า

“สังคมเสื่ อมถ อยเพราะคนดีท้อแท้”หรือ”ทำดีแต่อย่ าเด่นจะเป็นภั ย” จะได้เลิ กใช้กั นเสี ยที