เกร็ดความรู้

8 นิสั ยที่ความรวยไม่สามรถเข้าใกล้ ควรเลิ กตอนนี้ ถ้าไม่อยๅกลำบๅกมากๆ ตอนแ ก่ตัว

1.ไม่สนใจอนาคต

อนาคต ในเรื่องของการเงิน หลายคนสนใจ กับความสุขในวันนี้กินอิ่ม ป าร์ตี้สนุกเที่ ยวบ่อย ใช้ให้เต็มที่ ทั้งที่รู้ว่ายังไม่มีเงินเก็บสำหรับอนาคตไม่มี

เงินสดสำหรับ ย ามฉุ กเฉิ น ไม่เคยวางแผนการเงินไม่เคยแม้แต่จะลงมือทำ และปัญหา ก็ยังคงเป็นปัญหาเช่นเคย

2.ไม่สนใจหนี้

เพราะเมื่อได้เงินมา ก็มั วแต่สนุกกับการใช้จ่าย กระทั่งด อ กเบี้ ย (หนี้) ทบต้นไปเรื่อย ๆในทางตรงกันข้ามคน ที่อย ากรวยจะ “กลั วห นี้ ”มาก

พวกเขา จึงให้ความสำคัญ กับ “หนี้”เป็นอันดับแรกเมื่อมีรายได้ เข้ามาก็จะรีบชำระห นี้ก่อนสิ่งอื่นใด จนกระทั่งเป็นไทปลด ระวางหนี้ได้สำเร็จ

3. เป็นสาวกเทคโนโลยี

ไม่แปลกถ้าจะมีอุปกรณ์ คู่กายไม่ใช่เรื่องเกินจำเป็นหากจะมีอุปกรณ์พกพามากกว่า 1 ชิ้น เพียง

แต่เราต้องใช้ประโยชน์จากสิ่งที่เราซื้อให้เต็มที่และคุ้มค่าคุ้มราคาจริงๆ

4. ใช้เงินเพิ่มขึ้น

ไม่ผิดหรอกถ้าคิดว่า“อย ากมีชีวิตที่ดีขึ้น”แต่อย่ าลืมว่าชีวิตที่ดีขึ้นไม่จำเป็นต้องมากับรายจ่ายที่มากขึ้นเพียงอย่ างเดียว

ลองใช้ชีวิตให้ง่ายขึ้น เลิ กเป็นนักสะสมแค่นี้ก็ทำให้เรามีชีวิตที่ดีขึ้นได้

5. แยกไม่ออกว่าจำเป็นหรือต้องการ

วิธีการแยกง่ายที่สุด ก็คือต้องรู้ว่า สิ่งไหนต้องมี (จำเป็น) ข าดไปแล้ว จะใช้ชีวิต ไม่ได้อย่ างเช่นปัจจัย 4 หรือสิ่งไหนมีก็ดีไม่มีก็ได้ (ต้องการ)

ข าดไปแล้ว ยังใช้ชีวิตได้แต่ถ้ามีแล้วชีวิตจะดีขึ้น เช่นอาหารจาน หรูเสื้ อ ผ้าแ บ รนด์เ น ม

หรือสิ่งไหนไม่จำเป็นต้องมีแต่ถ้าแยกไม่ได้ และเอาอารมณ์ เป็นที่ตั้งอาจเป็นเหยื่อภ าพลวงของ “ความจำเป็น”

6. ไม่เคยตั้งงบประมาณในการใช้เงิน

หลายคนไม่เคยตั้ง“งบประมาณ”การใช้เงินเลยจะช้อปปิ้งปีใหม่จะเที่ยวจะซื้อเสื้ อผ้าก็จัดเต็มและสุดท้ายก็เกินความจำเป็น

เกินกำลังทรั พย์ของตัวเองและกลายเป็น“ห นี้”ในท้ายที่สุด

7. คิดว่าเร็วเกินไปที่จะออมเงิน

เลิ กผั ดวันประกันพรุ่งแล้วเริ่มออมเงินเดี๋ยวนี้จะสิบร้อยพันหมื่นก็ถือว่า เราได้เริ่มต้นแล้วหลังจากนั้นสร้างวินัยให้กับตนเอง

ด้วยการออมต่อเนื่องสม่ำเสมอแม้จะไม่อย ากออมก็ตาม เพราะวินัย คือการทำสิ่งที่ “ต้องทำ” แม้จะ “ไม่อยากทำ” ก็ตาม

8. ไม่เคยจดเรื่องเงินของตัวเอง

หลายคนไม่เคย แม้แต่จะจดเรื่อง “เงิน” ของตัวเอง ทั้งที่เป็นเรื่องที่ดีกับตัวเองแท้ ๆ เพียงเพราะคิดว่า เรารู้อยู่แล้ว ว่ารับจ่าย

ออมเท่าไหร่จริงอยู่ที่เราอาจรู้ ความเคลื่อนไหว เงินที่เข้า-ออกในกระเป๋าแต่นั่นอาจเป็นแค่ก้อนใหญ่ ๆ เท่านั้ น(เงินเดือน – หนี้บัตรเครดิต (รวม )– หนี้บ้านต่อเดือนฯลฯ)แต่รายจ่ายจิปาถะกาแฟ ขนมเสื้อผ้า

อุปกรณ์ต่างๆ หรือแม้แต่ค่าใช้จ่ายปลีกย่อยก่อนจะรวมเป็นหนี้บั ตรเ ครดิ ตก้อนใหญ่ หลายคนไม่เคย แม้แต่จะสนใจและนั่นก็เป็น “รูรั่ว” เล็ก ๆ

แต่สร้างผลกระทบ ยิ่งใหญ่ ต่อสถานะการเงิน โดยที่เราไม่รู้ตัว

 

ขอบคุณ : f o r l i f e t h